Notice: Undefined index: USERDATA in /home/website/fda.go.th/wp-content/themes/e-school/header.php on line 207
ขอความร่วมมือท่านตอบแบบสำรวจความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
เพื่อเป็นตัวแทนในการประเมินระดับความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ของประเทศ โดยประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1ข้อมูลทั่วไปผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 7 ข้อ
ส่วนที่ 2 ข้อมูลความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับบุคคล
จำนวน 40 ข้อ
เมื่อตอบคำถามครบทั้ง 2 ส่วนแล้ว กรุณากดยืนยันการส่งคำตอบ
โดยระบบจะรวบรวมข้อมูลของท่านเพื่อนำไปใช้วิเคราะห์ต่อไป
หลังจากนั้นท่านจะสามารถเข้าใช้งานระบบได้ตามปกติ
เราควรต้องฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ทุกปี เพราะเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ทำให้เกิดเชื้อใหม่ขึ้น ภูมิคุ้มกันเดิมอาจไม่สามารถป้องกันโรคได้ และภูมิคุ้มกันของร่างกายคนเราที่มีต่อเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่นั้นมักจะลดต่ำลงเรื่อย ๆ และผู้ที่ได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ควรเข้าใจว่า วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ถึงแม้จะได้รับวัคซีนแล้ว แต่ก็ไม่ใช่ว่าจะสามารถป้องกันการเกิดโรคได้ 100% ดังนั้น ผู้รับวัคซีนนี้ยังคงต้องดูแลตนเองให้แข็งแรง และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ผู้ที่ควรได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ คือ
1. กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงในการที่จะเกิดอาการแทรกซ้อน หลังจากป่วย
- ผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป
- ผู้ที่เข้ารับการบำบัดอยู่ใน nursing home และสถานที่รับดูแลโรคเรื้อรัง
- ผู้ใหญ่ และเด็กที่มีโรคปอดเรื้อรัง โรคระบบหัวใจ และหลอดเลือด รวมทั้งเด็กที่เป็นโรคหอบหืด
- ผู้ใหญ่ หรือเด็กที่ต้องเข้ารับการรักษา เป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาลอยู่เป็นประจำด้วยโรคเรื้อรัง คือ โรคเบาหวาน โรคไต โรคเลือด หรือมีภูมิคุ้มกันบกพร่อง รวมทั้งผู้ที่ได้รับยากดระบบภูมิคุ้มกัน
- เด็กหรือวัยรุ่น (6 เดือน – 18 ปี) ที่จำเป็นจะต้องได้รับการรักษาด้วยแอสไพรินเป็นประจำจะมีความเสี่ยงสูงต่อการป่วยเป็น Reye\\\\\\\'s Syndrome หากป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่
2. บุคลากรทางการแพทย์ หรือบุคคลที่มีโอกาสสัมผัสกับผู้เป็นโรค
3. ประชาชนทั่วไปที่ต้องการฉีด
อาการที่อาจเกิดหลังจากได้รับวัคซีน เช่น ปวดเมื่อยตามตัว ปวดบวมบริเวณที่มีการฉีดวัคซีน บางรายอาจพบอาการท้องเสีย อ่อนเพลีย มีห้อเลือด หรือคันบริเวณที่ฉีด แต่อาการจะสามารถหายเองได้ภายใน
1 – 2 วัน หากอาการดังกล่าวไม่ทุเลาลง ควรรีบไปพบแพทย์
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ห้ามให้ใน
1. ผู้ที่แพ้ยา/แพ้วัคซีน หรือส่วนประกอบของวัคซีนนี้ โดยเฉพาะผู้ที่แพ้ไข่ โปรตีนจากไก่ ยาปฏิชีวนะที่ใช้ในกระบวนการผลิตวัคซีน เช่น ยานีโอมัยซิน (Neomycin) และยาโพลีมัยซิน (Polymyxin)
2. ผู้ที่อายุน้อยกว่า 6 เดือน
3. ผู้ป่วยโรคกิลเลน-บารร์เร่ ซินโดรม (Guillain-Barre Syndrome) หรือโรคที่ความผิดปกติของเส้นประสาทส่วนปลาย
4. ผู้ที่มีไข้ เจ็บป่วย หรือไม่สบายในวันที่จะรับวัคซีนนี้ ควรเลื่อนนัดออกไปก่อน และกลับมาฉีดเมื่ออาการดีขึ้น
5. ผู้ที่เพิ่งหายจากการเจ็บป่วยมาไม่เกิน 1 สัปดาห์หรือเพิ่งออกจากโรงพยาบาล ได้ไม่เกิน 2 สัปดาห์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน
หลักสูตรการประเมินและการวิเคราะห์ความเสี่ยง (RA) ซึ่งเป็นกระบวนการวิเคราะห์ถึงปัจจัย หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุทำให้อันตรายที่มีอยู่ และแอบแฝงอยู่ก่อให้เกิดอุบัติภัย และอาจก่อให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การเกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมี หรือวัตถุอันตราย โดยพิจารณาถึงโอกาสและความรุนแรงของเหตุการณ์
หลักสูตรการประเมินและการวิเคราะห์ความเสี่ยง (RA) ซึ่งเป็นกระบวนการวิเคราะห์ถึงปัจจัย หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุทำให้อันตรายที่มีอยู่ และแอบแฝงอยู่ก่อให้เกิดอุบัติภัย และอาจก่อให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การเกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมี หรือวัตถุอันตราย โดยพิจารณาถึงโอกาสและความรุนแรงของเหตุการณ์
เว็บไซต์ FDA Center ปิดปรับปรุง
ตั้งแต่วันที่ 13 ก.พ. 2567 เวลา 00:00 น
จนถึงวันที่ 14 ก.พ. 2567 เวลา 23:00 น
โดยผู้ใช้งานจะไม่สามารถใช้งานได้ ในช่วงเวลาดังกล่าว
ขออภัยในความไม่สะดวก